การบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์



ให้นักเรียนบอกการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ (10) คะแนน
ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง
ช่วยกันนะครับ
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ
ไม่ถูกปิดเสียก่อน
ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ
ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558
มีผลบังคับใช้แล้ว
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ
สมาชิกที่ออนไลน์
ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 30 คน กำลังออนไลน์
2. อย่าใช้ผ้าเปียก ผ้าชุ่มน้ำ เช็ดคอมพิวเตอร์อย่างเด็ดขาด ใช้ผ้าแห้งดีกว่า
3. อย่าใช้สบู่ น้ำยาทำความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์ เพราะจะทำให้ระบบของเครื่อง เกิดความเสียหาย
4. ไม่ควรฉีดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
5. ไม่ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นกับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
6. ถ้าคุณจำเป็นต้องทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทำความสะอาด ที่คู่มือแนะนำไว้เท่านั้น
7. ไม่ควรดื่มน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์
8. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรืออาหารใด ๆ ขณะทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เองวิธีแก้ปัญหาคือจะต้องรีบระบายความร้อนที่เกิดจากอุปกรณืต่างๆ ออกไปให้เร็วที่สุด
• พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบต้องอยู่ในสภาพดี 100 เปอร์เซนต์ อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดควรจะอยู่ระหว่าง 60-70
องศาฟาเรนไฮต์
• ใช้เพาเวอร์ซัพพลาย ในขนาดที่ถูกต้อง
• ใช้งานเครื่องในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยู่ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงเป็นเวลานานๆ
• ควรทำความสะอาดภายในเครื่องทุก 6 เดือน หรือทุกครั้งที่ถอดฝาครอบ
• ตัวถัง หรือ ชิ้นส่วนภายนอกอาจใช้สเปรย์ทำความสะอาด
• วงจรภายในให้ใช้ลมเป่าและใช้แปรงขนอ่อนๆ ปัดฝุ่นออก
• อย่าสูบบุหรี่ใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์
อยู่มากมาหลายประเภท อาทิเช่น
• แม่เหล็กติดกระดาาบันทึกบนตู้เก็บแฟ้ม
• คลิปแขวนกระดาษแบบแม่เหล็ก
• ไขควงหัวแม่เหล็ก
• ลำโพง
• มอเตอร์ในพรินเตอร์
• UPS
• ควรโยกย้ายอุปกรณ์ที่มีกำลังแม่เหล็กมากๆ ให้ห่างจากระบบคอมพิวเตอร์
การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เสียบปลั๊กไฟทุกเส้นที่ต่อมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยปกติจะต่อหม้อแปลงที่เครื่องและต่อจากจอภาพให้เสียบปลั๊กเต้าเสียบให้เรียบร้อย เปิดสวิตซ์สำหรับเปิด-ปิดเครื่อง (ปุ่ม Power) ที่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์จะพบว่ามีไฟสีเหลืองติดท่เครื่องคอมพิวเตอร์และที่แป้นพิมพ์ เปิดสวิตซ์จอภาพ หรือบางที่อาจจะติดพ่วงกับจอคอมพิวเตอร์ จะพบตัวอักษรเกิดขึ้นบนจอภาพ ขั้นตอนการใช้แผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว การจับแผ่นดิสก์ควรจับบริเวณที่ติดฉลาก ให้ด้านที่มีฉลากหงายขึ้น ดังรูป ใส่แผ่นดิสก์เข้าไปในช่อง Disk Drive A: การนำแผ่นดิสก์ออก ในระหว่างการทำงานจะมีไฟติดอยู่ อย่าเพิ่งนำแผ่นดิสก์ออก ให้กดที่ปุ่มที่ใส่ดิสก์ แผ่นดิสก์จะออกมา ขั้นตอนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้โปรแกรมมี 2 วิธี การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรม DOS มีดังนี้ นำแผ่นโปรแกรม DOS มาใส่ใน Drive A: กดปุ่ม Power เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์สักครู่จะปรากฏคำว่า Current Date is Wed 01-01+2000 Enter new date (mm-dd-yy): ให้ตรวจสอบ เดือน/วัน/ปี ปัจจุบันว่าตรงหรือไม่ ถ้าไม่ตรงให้แก้ไข ถ้าตรงแล้วให้กด Enter ต่อจากนั้นจะปรากฏข้อความ Current time 12:12:12a Enter new time: ให้ตรวจสอบเวลาปัจจุบันว่าตรงหรือไม่ ถ้าไม่ตรงให้แก้ไข ถ้าตงให้กด Enter การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์โดย Hard Disk โดยการเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยกดปุ่ม Power จะมีการเข้าสู่โปรแกรมหรือเข้าสู่โปรแกรมของรายการเมนูหลักของโปรแกรม ให้เลือกโปรแกรมที่ต้องการ ในโปรแกรม Windows 95 จะเข้าสู่หน้าต่าง Windows 95 แล้วเลือก Start เลือกโปรแกรมที่ต้องการต่อไป วิธีปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ 1. ต้องมีการปิดแฟ้มการทำงานและออกจากโปรแกรมใช้งานก่อนเสมอ การปิดเครื่องระบบปฏิบัติการ Windows 95 มีขั้นตอนดังนี้ เลือกที่ปุ่ม Start เลือก Shut Down จะพบเมนูให้เลือก เลือก Shut Down the Computer เลือก Yes จนกว่าจะปรากฏข้อความว่า "It now safe to turn off your computer" จึงจะปิดเครื่อง Computer ได้ 2. ปิดสวิตซ์จอภาพก่อน 3. ปิดสวิตซ์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ 4. ดึงปลั๊กสายไฟออกจากเต้า 5. ควรมีการปัดฝุ่นบริเวณเครื่องคอมพิวเตอร์ 6. ให้ใช้ผ้าคลุมเครื่องเพื่อป้องกันฝุ่นละออง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เมื่อใช้ไประยะหนึ่งจะมีการเสื่อมชำรุดไปตามสภาพระยะเวลาที่ใช้งานผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงควรเอาใจใส่ดูแลและ
บำรุงรักษาอย่างเหมาะสม สม่ำเสมอเพื่อเพิ่มอายุ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งจะช่วยให้สามารถ ประหยัดงบประมาณ
ในการซ่อมบำรุงหรือการเปลี่ยนอุปกรณ์สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมที่คอมพิวเตอร์ของคุณจะทำงานได้ดีนั้นคือ อย่างไรเช่นในห้อง
คอมพิวเตอร์ของคุณ ควรจะมีอุณหภูมิสูงเท่าไร มีความชื้นไม่เกินเท่าไร ขีดจำกัดของการทำงานเป็นอย่างไร ระยะเวลาในการ
ทำงานของเครื่องเป็นอย่างไร ดังนั้น ห้องทำงานด้านคอมพิวเตอร์จึงควรเป็น ห้องปรับอากาศที่ปราศจากฝุ่น และความชื้น
ซอฟแวร์แผ่นดิสก์ที่เก็บซอฟแวร์และไฟล์ข้อมูล หรือสารสนเทศนั้นอาจเสียหายได้ ถ้าหากว่าแผ่นดิสต์ได้รับการขีดข่วนได้รับ
ความร้อนสูง หรือ ตกกระทบกระแทกแรง ๆ สิ่งที่ทำลายซอฟแวร์ ได้แก่ ความร้อน ความชื้น ฝุ่น ควัน และการฉีดสเปรย์พวก
น้ำยาหรือน้ำหอม ต่าง ๆ เป็นต้น การทำความสะอาดระบบคอมพิวเตอร์ 1. ไม่ควรทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เครื่องยังเปิดอยู่ถ้าคุณจะทำความ สะอาดเครื่อง ควรปิดเครื่องทิ้งไว้ 5 นาที
ก่อนลงมือทำความสะอาด
2. อย่าใช้ผ้าเปียก ผ้าชุ่มน้ำ เช็ดคอมพิวเตอร์อย่างเด็ดขาด ใช้ผ้าแห้งดีกว่า
3. อย่าใช้สบู่ น้ำยาทำความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์ เพราะจะทำให้ระบบของเครื่อง เกิดความเสียหาย
4. ไม่ควรฉีดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
5. ไม่ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นกับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
6. ถ้าคุณจำเป็นต้องทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทำความสะอาด ที่คู่มือแนะนำไว้เท่านั้น
7. ไม่ควรดื่มน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์
8. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรืออาหารใด ๆ ขณะทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ สาเหตุที่ทำให้เครื่องพีซีเกิดความเสียหาย 1. ความร้อน ความร้อน ที่เป็นสาเหตุทำให้คอมพิวเตอร์มีปัญหาส่วนใหญ่ เกิดจากความร้อนของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนเมนบอร์ดของ
คอมพิวเตอร์เองวิธีแก้ปัญหาคือจะต้องรีบระบายความร้อนที่เกิดจากอุปกรณืต่างๆ ออกไปให้เร็วที่สุด
วิธีแก้ปัญหา
• พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบต้องอยู่ในสภาพดี 100 เปอร์เซนต์ อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดควรจะอยู่ระหว่าง 60-70
องศาฟาเรนไฮต์
• ใช้เพาเวอร์ซัพพลาย ในขนาดที่ถูกต้อง
• ใช้งานเครื่องในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยู่ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงเป็นเวลานานๆ
ดูแลและบำรุงรักษา อย่างเหมาะสมสม่ำเสมอเพื่อเพิ่มอายุ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งจะช่วยให้สามารถ
ประหยัดงบประมาณในการซ่อมบำรุงหรือการเปลี่ยนอุปกรณ์
การทำความสะอาดระบบคอมพิวเตอร์
1. ไม่ควรทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ในขณะที่เครื่องยังเปิดอยู่ ถ้าคุณจะทำความ สะอาดเครื่อง ควรปิดเครื่องทิ้งไว้
15-20 นาที ก่อนลงมือทำความสะอาด
2. ห้ามใช้ผ้าเปียก ผ้าชุ่มน้ำ เช็ดคอมพิวเตอร์อย่างเด็ดขาด ในกรณีต้องการทำความสะอาดภายนอก ควรใช้น้ำยาสำหรับ
ทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะและทำความสะอาดตาม ที่แนะนำไว้ในคู่มือเท่านั้น
3. ห้ามเปิดเครื่องเพื่อทำความสะอาดภายในคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง หรือดูดฝุ้นด้วยเครื่องดูดฝุ่นเพราะจะทำให้ระบบของเครื่อง
เกิดความเสียหายได้ ควรปล่อยให้เป็นหน้าที่ของช่างซ่อมคอมพิวเตอร์
4. ไม่ควรฉีดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในกรณีที่ต้องใช้สเปรย์ทำความสะอาด ควรปล่อยให้เป็น
หน้าที่ของช่างซ่อมคอมพิวเตอร์
5. ไม่ควรดื่มน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์
6. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรืออาหารใด ๆ ขณะทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
โปรแกรมต่างๆ
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
( 65 Votes )
เราควรทำอะไรบ้างกับคอมพิวเตอร์ของเรา
มีคนอีกจำนวนมากๆ ที่ไม่เคยดูแล รักษาเครื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น หรือไม่ทราบว่าจะดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราให้อยู่กับเรานานๆ ได้อย่างไร อันนี้ไม่ได้โทษใคร แต่เราอยากจะแนะนำวิธีการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา แบบพื้นฐาน อย่างน้อย จะได้ทราบว่า คอมพิวเตอร์ของเราอยู่ในสภาพแบบไหน พร้อมใช้งานหรือไม่
เริ่มต้นการดูแลรักษา ตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์
แค่นี้ก็ช่วยลดปัญหาคอมพิวเตอร์ของคุณได้มากแล้วครับ ลองทำตามดูกันน่ะครับ
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
บำรุงรักษาอย่างเหมาะสม สม่ำเสมอเพื่อเพิ่มอายุ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งจะช่วยให้สามารถ ประหยัดงบประมาณ
ในการซ่อมบำรุงหรือการเปลี่ยนอุปกรณ์สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมที่คอมพิวเตอร์ของคุณจะทำงานได้ดีนั้นคือ อย่างไรเช่นในห้อง
คอมพิวเตอร์ของคุณ ควรจะมีอุณหภูมิสูงเท่าไร มีความชื้นไม่เกินเท่าไร ขีดจำกัดของการทำงานเป็นอย่างไร ระยะเวลาในการ
ทำงานของเครื่องเป็นอย่างไร ดังนั้น ห้องทำงานด้านคอมพิวเตอร์จึงควรเป็น ห้องปรับอากาศที่ปราศจากฝุ่น และความชื้น
ซอฟแวร์แผ่นดิสก์ที่เก็บซอฟแวร์และไฟล์ข้อมูล หรือสารสนเทศนั้นอาจเสียหายได้ ถ้าหากว่าแผ่นดิสต์ได้รับการขีดข่วนได้รับ
ความร้อนสูง หรือ ตกกระทบกระแทกแรง ๆ สิ่งที่ทำลายซอฟแวร์ ได้แก่ ความร้อน ความชื้น ฝุ่น ควัน และการฉีดสเปรย์พวก
น้ำยาหรือน้ำหอม ต่าง ๆ เป็นต้น การทำความสะอาดระบบคอมพิวเตอร์
ก่อนลงมือทำความสะอาด
2. อย่าใช้ผ้าเปียก ผ้าชุ่มน้ำ เช็ดคอมพิวเตอร์อย่างเด็ดขาด ใช้ผ้าแห้งดีกว่า
3. อย่าใช้สบู่ น้ำยาทำความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์ เพราะจะทำให้ระบบของเครื่อง เกิดความเสียหาย
4. ไม่ควรฉีดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
5. ไม่ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นกับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
6. ถ้าคุณจำเป็นต้องทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทำความสะอาด ที่คู่มือแนะนำไว้เท่านั้น
7. ไม่ควรดื่มน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์
8. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรืออาหารใด ๆ ขณะทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เองวิธีแก้ปัญหาคือจะต้องรีบระบายความร้อนที่เกิดจากอุปกรณืต่างๆ ออกไปให้เร็วที่สุด
วิธีแก้ปัญหา
• พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบต้องอยู่ในสภาพดี 100 เปอร์เซนต์ อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดควรจะอยู่ระหว่าง 60-70
องศาฟาเรนไฮต์
• ใช้เพาเวอร์ซัพพลาย ในขนาดที่ถูกต้อง
• ใช้งานเครื่องในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยู่ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงเป็นเวลานานๆ
เคยมีคนสงสัยว่า การโอเวอร์คล็อกนั้นจะทำให้เครื่องของเรา เร็วขึ้น แรงขึ้น ได้อย่างไร คำตอบก็คือ มันเป็นการเพิ่มความเร็วให้กันซีพียู โดยการปรับแต่งความเร็วของระบบบัสภายใน หรือการปรับเปลี่ยนความถี่ของซีพียูให้มีค่าเปลี่ยนไปจากเดิมที่ใช้กันอยู่ อย่างเช่นปกติเราใช้ซีพียูความเร็ว 1000 เมกะเฮิรตซ์ และเมื่อเรานำมาโอเวอร์คล็อกแล้ว ซีพียูของเราจะมีความเร็วเพิ่มจาก 1000 เมกะเฮิรตซ์ ไปเป็น 1300 เมกะเฮิรตซ์ อาจจะมากหรือน้อยกว่าก็ได้ โดยที่เราไม่ต้องซื้อซีพียูตัวใหม่ และเสียเงินเสียทองในการโอเวอร์คล็อกแต่อย่างใด แต่เมื่อจะเริ่มโอเวอร์คล็อกเรามารู้หลักการและคำศัพท์กันก่อนนะครับ
คำศัพท์ที่ต้องรู้จักก่อนการโอเวอร์คล็อก
Front Side BUS
เรียกกันสั้น ๆ ว่า FSB หรือบัสก็ได้ ซึ่งหมายถึง เส้นทางการส่งข้อมูลของลายวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง FSB นั้น จะส่งข้อมูลและทำงานไปพร้อมๆ กับอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ซีพียู หน่อยความจำ และสล็อตต่างๆ บนเมนบอร์ด อย่างเช่นสล็อต AGP , PCI ซึ่ง FSB สัญญาณนาฬิการที่เราเรียกกันว่าความถี่ ที่อุปกรณ์แตะละตัวก็จะมีแตกต่างกันออกไป ซึ่ง FSB จะเป็นตัวควบคุมจังหวะการทำงาน ว่าจะรับหรือจะส่งจังหวะเร็วก็ส่งเร็วเมื่อจังหวะช้าก็ส่งช้า เป็นต้น
Multiplier (ตัวคูณ)
ซีพียูทุกตัวทั้งซีพีจากค่าย lnter หรือ AMD ต่างก็มีตัวคูณอยู่ในตัวซีพียูอยู่แล้วซึ่งซีพียูแต่ละตัวจะมีตัวคูณที่ไม่เท่ากันเช่น AMD Athlon XP 2500+ ใช้ตัวคูณ 11.0xและใช้ FSB 166 เมกะเฮิรตซ์(11x166=1826 เมกะเฮริตซ์) แต่ละส่วน AMD Athlon64 3200+ ใช้ตัวคูณ 10.0x แต่ใช้ FSB 200 เมกะเฮิรตซ์ (10x200=2000 เมกะเฮริตซ์) จะเห็นว่าซีพียูแต่ละตัวก็ใช้ FSB ที่แตกต่างกันออกไปด้วยเช่นกันครับ แต่ในทางโอเวอร์คล็อกซีพียู บางตัวเปลี่ยนค่าตัวคูณได้ ( AMD) และซีพียู บางตัวก็เปลี่ยนคูณไม่ได้ (lntel) ซึ่งการเพิ่มตัวคูณนั้นจะไม่มีผลการทบต่ออุปกรณ์รอบข้างแต่อย่างใด แต่นั้น อย่าไปสับสนกับ FSB นะครับ
Vcore
หมายถึงไฟที่ใช้เลี้ยงซีพียูและแน่นอนครับว่าเราสามารถที่จะเพิ่มไฟเลี้ยงให้กับซีพียูได้ ซึ่งซีพียูทุกตัวต่างก็มีไฟเลี้ยงในตัวเอง และใช้ไฟเลี้ยงที่แตกต่างกันออกไปอีก เช่น lntel Celeron D Processor 330 2.66 กิกะเฮิรตซ์ ใช้ไฟเลี้ยง 1.4 โวลต์ และ AMD Atlon64 FX-53 2.4 กิกะเฮิรตซ์ ใช้ไฟเลี้ยง 1.6 โวลต์ แต่ในทางเทคนิคของการ โอเวอร์คล็อกนั้น การที่เราเพิ่มไฟเลี้ยงให้กับซีพียูสูงๆ จะทำให้สามารถโอเวอร์คล็อกได้สูงๆ ด้วนเช่นเดียวกัน เพราะซีพียูทำงานหนักขึ้น ก็ต้องใช้พลังงานที่มากขึ้นตามไปด้วย ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการระบายความร้อนให้กับซีพียูอีกด้วยส่วนผลเสียก็คือเมื่อเราเพิ่ม Vcore มากจนเกินไป แล้วเราไม่ได้ความคุมระบบระบายความบนตัวซีพียูให้ดี ซีพียูของคุณอาจจะไหม้ หรือลาโลกไปเลยก็เป็นได้
Vmem, VDD
เป็นไฟเลี้ยงที่ป้อนให้กับหน่วยการความจำ ซึ่งหน่วยความจำ DDR1 ทั่วนั้นจะมีกำลังไฟเลี้ยงที่ 1.6 โวลต์ แต่ถ้าเป็นDDR2 ก็จะมีไฟเลี้ยง 1.4 โวลต์ หลักในการเพิ่มไฟเลี้ยงก็จะคล้ายคลึงกับ Vcore ยิ่งไฟเลี้ยงเยอะเท่าไรก็จะทำให้เราโอเวอร์คล็อกแรมที่ความถี่สูง ๆ เยอะเท่านั้น ทั้งนี้ก็อยู่อยู่กับคุณภาพของแรมด้วยว่าจะรับความถี่สูง ๆ ได้มากน้อยเพียงใด อีกอย่าก็คือการระบายความที่ดีด้วย
VIO
นี่คือไฟเลี้ยงที่ป้อให้กับซิปเซต ซึ่งส่วนมากแล้วเมนบอร์ดที่สามารถปรับแต่งค่านี้ได้จะเป็นเมนบอร์ดที่ออกแบบมาสำหรับการโอเวอร์คล็อกจริงๆ อย่างเช่นเมนบอร์ดจาก ABIT,DFI,MSI,และ ASUS เป็นต้น ซึ่งสามารถปรับ VIO ให้กับซิพเซ็ตได้อีกด้วย
Cas latency
เรียกกันสั้นๆ ว่า CL หรือ Timing ก็ได้ครับ คืออัตราการรีเฟรซข้อมูลของแรมในหนึ่งลูกคลื่น ซึ่งการรีเฟรชข้อมูลในหน่วยความจำบ่อย ๆ หรือ CL น้อย ๆ จะทำให้แรมทำงานได้เร็ว เนื่องจากใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูลสั้นลง ซึ่งค่า CL นั้นจะเป็นตัวเลขที่ต่อท้าย 4 ตัวของแรม เช่น แรมยี่ห้อ Corsair DDR XMS 512 MB PC3200 2-7-3-3 จะเป็นค่าของเวลาที่แรมจะทำการหน่วงข้อมูลแล้วส่งต่อไปยัง Chipset และ Chipset ก็จะประมวลผลอีกที (ถ้าค่า CL ยิ่งต่ำเท่าไรแรมก็จะส่งข้อมูลได้รวดเร็วยิ่งขึ้นเท่านั้น)
AGP/PCI
หมายถึง ความเร็วของการ์ดแสดงผลที่เป็นอินเทอร็เฟช AGP ที่มีความเร็ว 66 เมกะเฮิรตซ์ และความเร็วของอุปกรณ์ PCL ที่มีความเร็ว 33 เมกะเฮิรตซ์ ค่า 2 ค่านี้จะเปลี่ยนตาม FSB ซึ่งหากเมนบอร์ดปรับอัตราทดได้แล้วนั้น ค่า AGP/PCI จะทำงานที่ความเร็วดังในตาราที่แสดงอยู่ แต่เมนบอร์ดบางรุ่นสามารถที่จะกำหนดความถี่ให้กับความเร็วของ AGP/PCI เมื่อเราปรับ FSB ให้สูงขึ้น
การโอเวอร์คล็อกสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทใหญ่ ๆ
1. โอเวอร์คล็อกแบบปรับ FSB อย่างเดียว
แบบนี้เป็นการเพิ่มความถี่ของ FSB ให้มากขึ้น แล้วความเร็วของซีพียูจะเปลี่ยนไปตามค่าความถี่ที่เราเปลี่ยนไป จะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับว่าตัวคูณของซีพียูนั้นจะมีมานชกน้อยเพียงใด เช่น ปกติซีพียูทำงานที่ความเร็ว 1000 เมกะเฮิรตซ์ หรือ 10x100= 1000 เมกะเฮิรตซ์ จากนั้นเมื่อทำการเปลี่ยนตาม คือ 10x133=1330 เมกะเฮิรตซ์ นั่นเอง โดยเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ทุกวันนี้จะกำหนดค่าของ FSB ได้ ซึ่งค่า FSB ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อความเร็วอื่น ๆ (ค่าความถี่ของอุปกรณ์อื่นๆไม่สูงตาม FSB) นั้นก็คือ FSB133,166 และ 200เมกะเฮิรตซ์ กล่าวคือ ถ้าเราใช้งานที่ FSB ดังกล่าวแล้ว AGP/PCI จะทำงานปกติที่ 66/33 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งไม่มีผลเสียใด ๆ
• ผลเสียของการโอเวอร์คล็อกแบบปรับ FSB
คือจะทำให้อุปกรณ์อื่น ๆ ทำงานผิดไปจากเดิม เนื่องจาก FSB ของระบบเปลี่ยนไป เนื่องจากอุปกรณ์ทุกอย่างเสียบลงบนเมนบอร์ด แล้ว FSB ของระบบเปลี่ยนไปอุปกรณ์อื่นๆ ก็ต้องทำงานแล้ว หรือช้าตาม FSB นั้นตามไปด้วย แต่ปัญหานี้แก้ได้ไม่ยากครับ ถ้าเมนบอร์ดของท่านปรับอัตราทด AGP/PCI ได้ หรือกำหนดค่าได้นั้น ก็จะทำให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานที่ความเร็วเดิมแม้ FSB จะเปลี่ยนไปตามก็ตาม
2. การโอเวอร์คล็อกแบบปรับตัวคูณอย่างเดียว
เป็นวิธีที่บ่ายที่สุดแต่สามารถทำได้กับซีพียูจากค่าย AMD เท่านั้นยกตัวอย่างเช่น ปกติเรามีความเร็วซีพียูที่ 1000 เมกะเฮิรตซ์
(10x100=1000 เมกะเฮิรตซ์) จากนั้นเราทำการปรับตัวคูณ CPU จาก 10 เป็น 12 เราก็จะได้ความเร็ว CPU ใหม่เป็น 12x100=1200 เมกะเฮิรตซ์ นั้นเอง หรืออาจจะปรับขึ้นไปพร้อม ๆ กับการเพิ่ม Vcore ก็ได้ครับ แต่จะขอให้ค่อย ๆ ปรับขึ้นไปทีละขั้นๆ ไป อย่าใจร้อนปรับแบบก้าวกระโดด
• ผลเสียของการโอเวอร์คล็อกแบบปรับตัวคูณ
จะทำให้ CPU เร็วขึ้นเพียงอย่างเดียว แต่ระบบโดยรวม หรือความถี่ของอุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานที่ความเร็วเท่าเดิม
3. โอเวร์คล็อกแบบปรับ FSB และ ตัวคูณ ไปพร้อมๆ กัน
การโอเวอร์คล็อกด้วยวิธีนี้ ถือว่าเป็นการโอเวอร์คล็อกเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพอย่างแท้จริง ทั้งความเสถียรของระบบและความเร็ว เพราะจะทำให้ระบบโดยรวมทำงานได้เร็วสูสีกันไป ไม่ใช่ว่าเร็วเฉพาะซีพียูเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
การระบายความร้อนก็มีผลต่อการโอเวอร์คล็อก
พูดถึงความร้อนของอุปกรณ์ภายในเครื่องให้ไฟฟ้าภายในบ้านก็มีทั้งนั้นแหละครับ ไม่ว่าจะเป็นทีวี ตู้เย็น แต่คอมพิวเตอร์นี่สิปกติก็มีความร้อนออกมาอยู่แล้ว ยิ่งถ้าโอเวอร์คล็อกแบบอัด Vcore,Vmem เพิ่มไฟต่างๆ แล้วละก็ ความร้อนมีผลอย่างมากในการที่เราจะโอเวอร์คล็อก ดังนั้นเราควรดูแลและความคุมอุณหหภูมิมิให้อยู่ในระดับที่ไม่อันตรายจะเกินไป ซึ่งอุณหภูมิดังกล่าวจะไม่เกิน 60 องศา นี่เป็นอุณหภูมิที่ไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อตัวซีพียู แต่ถ้าโอเวอร์คล็อกแล้วละก็สมควรอย่างยิ่งที่จะควบคุมให้อุณหภูมิไม่ถึง 40-50 องศา ทั้งนี้ก็เพื่อความเสถียรในการทำงานครับ
คอมพิวเตอร์เมื่อใช้ไประยะหนึ่งจะมีการเสื่อมชำรุดไปตามสภาพระยะเวลาที่ใช้งานผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงควรเอาใจใส่ดูแลและ
บำรุงรักษาอย่างเหมาะสม สม่ำเสมอเพื่อเพิ่มอายุ การใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งจะช่วยให้สามารถ ประหยัดงบประมาณ
ในการซ่อมบำรุงหรือการเปลี่ยนอุปกรณ์สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมที่คอมพิวเตอร์ของคุณจะทำงานได้ดีนั้นคือ อย่างไรเช่นในห้อง
คอมพิวเตอร์ของคุณ ควรจะมีอุณหภูมิสูงเท่าไร มีความชื้นไม่เกินเท่าไร ขีดจำกัดของการทำงานเป็นอย่างไร ระยะเวลาในการ
ทำงานของเครื่องเป็นอย่างไร ดังนั้น ห้องทำงานด้านคอมพิวเตอร์จึงควรเป็น ห้องปรับอากาศที่ปราศจากฝุ่น และความชื้น
ซอฟแวร์แผ่นดิสก์ที่เก็บซอฟแวร์และไฟล์ข้อมูล หรือสารสนเทศนั้นอาจเสียหายได้ ถ้าหากว่าแผ่นดิสต์ได้รับการขีดข่วนได้รับ
ความร้อนสูง หรือ ตกกระทบกระแทกแรง ๆ สิ่งที่ทำลายซอฟแวร์ ได้แก่ ความร้อน ความชื้น ฝุ่น ควัน และการฉีดสเปรย์พวก
น้ำยาหรือน้ำหอม ต่าง ๆ เป็นต้น การทำความสะอาดระบบคอมพิวเตอร์
1. ไม่ควรทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เครื่องยังเปิดอยู่ถ้าคุณจะทำความ สะอาดเครื่อง ควรปิดเครื่องทิ้งไว้ 5 นาที
ก่อนลงมือทำความสะอาด
2. อย่าใช้ผ้าเปียก ผ้าชุ่มน้ำ เช็ดคอมพิวเตอร์อย่างเด็ดขาด ใช้ผ้าแห้งดีกว่า
3. อย่าใช้สบู่ น้ำยาทำความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์ เพราะจะทำให้ระบบของเครื่อง เกิดความเสียหาย
4. ไม่ควรฉีดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
5. ไม่ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นกับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
6. ถ้าคุณจำเป็นต้องทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทำความสะอาด ที่คู่มือแนะนำไว้เท่านั้น
7. ไม่ควรดื่มน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์
8. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรืออาหารใด ๆ ขณะทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เองวิธีแก้ปัญหาคือจะต้องรีบระบายความร้อนที่เกิดจากอุปกรณืต่างๆ ออกไปให้เร็วที่สุด
• พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบต้องอยู่ในสภาพดี 100 เปอร์เซนต์ อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดควรจะอยู่ระหว่าง 60-70
องศาฟาเรนไฮต์
• ใช้เพาเวอร์ซัพพลาย ในขนาดที่ถูกต้อง
• ใช้งานเครื่องในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยู่ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงเป็นเวลานานๆ
เสมือนฉนวนป้องกันความร้อน ทำให้ความร้อนที่เกิดขึ้นในระบบไม่สามารถระบายออกสู่สภาพแวดล้อมภายนอกนอกจากนี้
อาจไปอุดตันช่องระบายอากาศของเพาเวอร์ซัพพลาย หรือฮาร์ดดิสค์ หรืออาจเข้าไปอยู่ระหว่างแผ่นดิสค์กับหัวอ่าน ทำให้
แผ่นดิสค์หรือหัวอ่านเกิดความเสียหายได้
• ควรทำความสะอาดภายในเครื่องทุก 6 เดือน หรือทุกครั้งที่ถอดฝาครอบ
• ตัวถัง หรือ ชิ้นส่วนภายนอกอาจใช้สเปรย์ทำความสะอาด
• วงจรภายในให้ใช้ลมเป่าและใช้แปรงขนอ่อนๆ ปัดฝุ่นออก
• อย่าสูบบุหรี่ใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์
อยู่มากมาหลายประเภท อาทิเช่น
• แม่เหล็กติดกระดาาบันทึกบนตู้เก็บแฟ้ม
• คลิปแขวนกระดาษแบบแม่เหล็ก
• ไขควงหัวแม่เหล็ก
• ลำโพง
• มอเตอร์ในพรินเตอร์
• UPS
• ควรโยกย้ายอุปกรณ์ที่มีกำลังแม่เหล็กมากๆ ให้ห่างจากระบบคอมพิวเตอร์
• แรงดันเกิน
• แรงดันตก
• ทรานเชียนต์
• ไฟกระเพื่อม
ในกรณีที่เครื่องของท่านได้รับแรงดันไฟฟ้าเกินจากปกติเป็นเวลานานกว่า วินาที จะมีผลทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภาย
ในเครื่องเกิดความเสียหายได้
ในกรณีที่มีการใช้ไฟฟ้ากันมากเกินความสามารถในการจ่ายพลังงานไฟฟ้าจะมีผลทำให้เกิดเหตุการณ์ไฟตกได้ไฟตกอาจทำ
ให้การทำงานของเพาเวอร์ซัพพลายผิดพลาดได ้ เนื่องจากเพาเวอร์ซัพพลายพยายามจ่ายพลังงานให้กับวงจรอย่างสม่ำเสมอ
โดยไปเพิ่มกระแส แต่การเพิ่มกระแสทำให้ตัวนำเพาเวอร์ซัพพลายและอุปกรณ์ต่าง ๆ ร้อนขึ้น ซึ่งมีผลทำให้อุปกรณ์ต่างๆ เกิด
ความเสียหายได้
ทรานเชียนต์หมายถึง การที่ไฟฟ้ามีแรงดันสุง(sags)หรือต่ำกว่าปกติ(surge)ในช่วงระยะเวลาสั้นๆทรานเชียนต์ที่เกิดในบาง
ครั้งจะมีความถี่สูงมากจนกระทั่งสามารถ เคลื่อนที่ผ่านตัวเก็บประจุไฟฟ้าในเพาเวอร์ซัพพลาย เข้าไปทำความเสียหาย ให้แก่
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้
ทุกครั้งที่ท่านเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าจะทำให้กำลังไฟเกิดการกระเพื่อม เครื่องใช้ไฟฟ้ที่ต้องการกระแสไฟฟ้ามาก ๆ ก็จะทำให้
ความแรงของการกระเพื่อมมีค่ามากตามไปด้วย จากการศึกษาพบว่าการเปิดใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละครั้งจะทำให้เกิดการ
กระเพื่อมภายในเสี้ยววินาทีการกระเพื่อมจะมีผลต่อทุกๆส่วนภายในตัวเครื่อง รวมทั้งหัวอ่านข้อมูลของฮาร์ดดิสค์ด้วย
• ในกรณีไฟเกิน ไฟตก และทรานเชียนต์ แก้ไขได้โดยการใช้เครื่องควบคุมกระแสไฟฟ้า หรือ ที่เรียกว่า Stabilizer
• ส่วนไปกระเพื่อม แก้ได้โดยการลดจำนวนครั้งในการปิดเปิดเครื่อง
สถิตย์จะสะสมอยู่เป็นจำนวนมาก และหาทางวิ่งผ่านตัวนำไปยังบริเวณที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่า ดังนั้นเมื่อท่านไปจับอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ประจุของไฟฟ้าสถิตย์จากตัวท่านจะวิ่งไปยังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้นทำให้อุปกรณ์เกิดความเสียหายได้
แต่ในสภาวะที่มีความชื้นสูง ไฟฟ้าสถิตย์ที่เกิดขึ้นจะรั่วไหลหายไปในระยะเวลาอันสั้น
• ควรทำการคายประจุไฟฟ้าสถิตย์ ด้วยการจับต้องโลหะอื่นที่ไม่ใช้ตัวถังเครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนจะสัมผัสอุปกรณ์ต่างๆ ใน
ระบบคอมพิวเตอร์
ซึมของแบตเตอรี่บนเมนบอร์ดซึ่งถ้าเกิดปัญหานี้ขึ้น นั่นหมายความว่าท่านจะต้องควักกระเป๋าซื้อเมนบอร์ดตัวใหม่มาทดแทน
ตัวเก่าที่ต้องทิ้งลงถังขยะสถานเดียว
• หลีกเลี่ยงการนำของเหลวทุกชนิดมาวางบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ของท่าน
• กรณีการรั่วซึมของแบตเตอรี่ แก้ไขได้โดยการเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ เมื่อเครื่องของท่านมีอายุการใช้งานได้ประมาณ 1-2 ปีเป็น
ต้นไป
• เครื่องจ่ายไฟสำรอง (UPS) ถ้ามีงบประมาณเพียงพอควรติดตั้งร่วมกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ด้วยเพราะ UPS จะช่วยป้องกัน
และแก้ปัญหาทางไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นไฟตก ไฟเกิน หรือไฟกระชาก อันเป็นสาเหตุที่จะทำให้เกิดความเสียหายของข้อมูลและชิ้น
ส่วนอื่นๆ
การติดตั้งตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ควรติดตั้งในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศหรือถ้ามีไม่มีเครืองปรับอากาศควรเลือกห้องที่ปลอด
ฝุ่นมากที่สุดและการติดตั้งตัวเครื่อง ควรจากผนังพอสมควรเพื่อการระบายความร้อนที่ดี
• การต่อสาย Cable ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น Printer Modem Fax หรือ ส่วนอื่น ๆ จะต้องกระทำเมื่อ
power off เท่านั้น
• อย่าปิด - เปิดเครื่องบ่อยๆ เกินความจำเป็น เพราะจะทำให้เกิดความเสียหายแก่โปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่
• ไม่เคลื่อนย้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เครื่องทำงานอยู่ เพราะจะทำให้อุปกรณ์บางตัวเกิดความเสียหายได้
• อย่าเปิดฝาเครื่องขณะใช้งานอยู่ ถ้าต้องการเปิดต้อง power off และถอดปลั๊กไฟก่อน
• ควรศึกษาจากคู่มือก่อนหรือการอบรมการใช้งาน Software ก่อนการใช้งาน
ตัวถังภายนอกของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นส่วนประกอบของเหล็กกับพลาสติกเมื่อใช้นานๆจะมีฝุ่นและคราบรอยนิ้ว
มือ มาติดทำให้ดูไม่สวยงามและถ้าปล่อยไว้นานๆจะทำความสะอาดยากจึงควรทำความสะอาดบ่อยๆอย่างน้อย1-2เดือนต่อครั้ง
โดยใช้ผ้าชุบน้ำหมาดๆ เช็ดที่ตัวเครื่องหรือใช้น้ำยาทำความสะอาดเครื่อง คอมพิวเตอร์โดยเฉพาะและที่สำคัญคือควรใช้ผ้าคลุม
เครื่องให้เรียบร้อยหลังเลิกใช้งานทุกครั้งเพื่อป้องกันฝุ่นผงต่างๆ
ซึ่งควรปฏิบัติดังต่อไปนี้
• การติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ควรติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์โดยให้ด้านหลังของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ห่างจากฝาผนังไม่น้อย
กว่า 3 นิ้ว เพื่อการระบายความร้อน เป็นอย่างปกติไม่ทำให้เครื่องร้อนได้
• ควรเลือกใช้โตีะทำงานที่แข็งแรงป้องกันการโยกไปมาเพราะทำให้หัวอ่านของฮาร์ดดิสก์ถูกกระทบกระเทือนได้
• ควรมีการตรวจสอบสถานภาพของ Hard Disk ด้วยโปรแกรม Utility ต่างๆว่ายังสามารถใช้งานได้ครบ 100 % หรือมีส่วนใด
ของ Hard Disk ที่ใช้งานไม่ได้
เข้าไปเกาะที่หัวอ่านหรือเกิดจากความสกปรกของแผ่นดิสก์ที่มีฝุ่น หรือคราบไขมันจากมือ ผลที่เกิดขึ้นทำให้การบันทึกหรืออ่าน
ข้อมูลจากแผ่นดิสก์ไม่สามารถดำเนินการได้
• เลือกใช้แผ่นดิสก์ที่สะอาดคือไม่มีคราบฝุ่น ไขมัน หรือรอยขูดขีดใดๆ
• ใช้น้ำยาล้างหัวอ่านดิสก์ทุกๆเดือน
• หลีกเลี่ยงการใช้แผ่นดิสก์เก่าที่เก็บไว้นานๆ เพราะจะทำให้หัวอ่าน Disk Drive สกปรกได้ง่าย
ต้องให้ช่างเท่านั้นเป็นผู้แก้ไขผู้ใช้คอมพิวเคอร์ควรระมัดระวัง โดยปฏิบัติดังนี้
• อย่าให้วัตถุหรือน้ำไปกระทบหน้าจอคอมพิวเตอร์
• ควรเปิดไฟที่จอก่อนที่สวิซไฟที่ CPU เพื่อ boot เครื่อง
• ไม่ควรปิดๆ เปิดๆ เครื่องติดๆกัน เมื่อปิดเครื่องแล้วทิ้งระยะไว้เล็กน้อยก่อนเปิดใหม่
• ควรปรับความสว่างของจอภาพให้เหมาะสมกับสภาพของห้องทำงาน เพราะถ้าสว่างมากเกินไปย่อมทำให้จอภาพอายุสั้นลง
• อย่าเปิดฝาหลัง Monitor ซ่อมเอง เพราะจะเป็นอันตรายจากกระแสไฟฟ้าแรงสูง
• เมื่อมีการเปิดจอภาพทิ้งไว้นานๆ ควรจะมีการเรียกโปรแกมถนอมจอภาพ (Screen Sever) ขึ้นมาทำงานเพื่อยืดอายุการใช้งาน
ของจอภาพ
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ควรหมั่นดูแลรักษาดังนี้
•รักษาความสะอาดโดยดูดฝุ่นเศษกระดาษที่ติดอยู่ในเครื่องพิมพ์ทุกเดือนหรือใช้แปรงขนนุ่มปัดฝุ่นเศษกระดาษออกจากเครื่อง
พิมพ์อย่าใช้แปรงชนิดแข็งเพราะอาจทำให้เครื่องเป็นรอยได้
• ถ้าตัวเครื่องพิมพ์มีความสกปรกอาจ ใช้ผ้านุ่มหรือฟองน้ำชุบน้ำยาทำความสะอาดเครื่องใช้สำนักงานเช็ดถูส่วนที่เปนพลาสติก
แต่ต้องระมัดระวัง อย่าใช้น้ำเข้าตัวเครื่องพิมพ์ได้ และควร หลีกเลี่ยงการใช้น้ำมันหล่อลื่นทุกชนิด ในตัวเครื่อง เพราะ อาจทำให้
ระบบกลไกเสียหายได้
• ก่อนพิมพ์ทุกครั้งควรปรับความแรง ของหัวเข็มให้พอเหมาะกับความหนาของกระดาษ
• ระหว่างพิมพ์ควรระวังหัวพิมพ์จะติดกระดาษ เช่น การพิมพ์ซองจดหมาย หรือกระดาษที่มีความหนาหรือบางเกินไป
• อย่าถอดหรือเสียบสาย Cable ในขณะที่เครื่องพิมพ์ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์กำลังทำงานอยู่
• ไม่ควรพิมพ์กระดาษติดต่อกันนานเกินไปเพราะอาจทำให้หัวอ่านร้อนมากทำให้เครื่องชะงักหยุดพิมพ์กระดาษ
• เมื่อเลิกพิมพ์งานควรนำกระดาษออกจากถาดกระดาษ และช่องนำกระดาษ
• ไม่ควรใช้กระดาษไข(Stencil Paper)แบบธรรมดากับเครื่องพิมพ์ประเภทแบบกระแทก(Dotmatrix Printer)เนื่องจากเศษของ
กระดาษไขอาจจะไปอุดตันเข็มพิมพ์ อาจทำให้เข็มพิมพ์อาจหักได ้ควรใช้กระดาษไขสำหรับเครื่องพิมพ ์แทนเพื่อป้องกันการ
ชำรุดของเฟืองที่ใช้หมุนกระดาษ
ข้างสูงผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงควรระมัดระวังในการใช้งานแม้ว่าโอกาสจะเสียหายมีน้อยก็ตาม ข้อควรปฏิบัติดังนี้
• การเลือกใช้กระดาษไม่ควรใช้กระดาษ ที่หนาเกินไปจะทำให้กระดาษติดเครื่องพิมพ์ได้
• ควรกรีดกระดาษให้ด ี อย่าให้กระดาษติดกัน เพราะอาจจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้กระดาษติดในตัวเครื่องพิมพ์ได้
• การใช้พิมพ์ Laser Printer พิมพ์ลงในแผ่นใส ก็ต้องเลือกใช้แผ่นใสที่ใช้ถ่ายเอกสารได้เท่านั้นหากใช่แผ่นใสแบบธรรดาซึ่งไม
่สามารถทนความร้อนได้อาจจะหลอมละลายติดเครื่องพิมพ์ทำให้เกิดความเสียหาย
เริ่มต้นการดูแลรักษา ตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การดุเเลรัษาคอมพิวเตอร์
เราสามารถดูรายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องของเราว่าอุปกรณ์อะไร รายละเอียดเป็นอย่างไร ได้ โดยดูที่ System Properties โดยคลิ๊กเม้าปุ่มขวาที่ My computer เลือก
1. Properties จะปรากฏ System Propeties ขึ้นมา ให้เราคลิ๊กที่ Tab Device Manager เราสามารถดูรายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ภายในเครื่องของเราได้
ถ้าเรามีเครื่องพิมพ์ ก็สั่งพิมพ์มาเก็บไว้เลยจะเป็นการดีที่สุดป้องกันการลืม
2.. วางแผนในการเก็บรักษา
การเก็บรักษาไฟล์ข้อมูลในโฟล์เดอร์เราจะต้องเก็บรักษาให้อยู่ในส่วนที่ค้นหาง่ายและมีชื่อที่สามารถจดจำได้ง่าย จะช่วยลดความเสี่ยงที่เราจะลบโปรแกรมหรือข้อมูลเหล่านั้นโดยไม่ได้ตั้งใจ อีกทั้งฮาร์ดดิสก์ที่มีการบริหารรวบรวมที่ดีจะสามารถทำ การแบ๊กอัปสำรองข้อมูลได้ง่ายกว่าและเร็วกว่า และไฟล์ไหนที่เราไม่ได้ใช้เป็นเวลาอย่างน้อย 2 เดือน ควรจะลบไฟล์นั้นออกไป เพราะ ดิสก์ที่ใส่ข้อมูลมากๆ จนเกือบเต็มความจุของมันมักมีแนวโน้มที่จะเกิดความผิดพลาดได้มากกว่า และช้ากว่าฮาร์ดดิสก์ที่ไม่ได้ใส่ข้อมูลจนแน่น
3. ป้องกันไวรัส
แม้ว่าไวรัสคอมพิวเตอร์ที่สามารถสร้างความเสียหายให้กับเครื่องและข้อมูลของเราได้ ซึ่งในบางครั้งก็ดูออกจะเป็นเรื่องตื่นตระหนกจนเกินเหตุ แต่ความเป็นจริงแล้วไวรัสไม่สามารถที่จะทำอันตรายให้กับเครื่องและข้อมูลของเราได้ ถ้าหากเราไม่ได้สั่งให้มันทำงาน (execute) ไวรัสนั้นติดมาได้ 2 ทาง คือ
1. จากแผ่นดิสก์อื่นที่เรานำมาใช้ ไม่ว่าจะเป็นแผ่นที่เรายืมหรือก๊อป+++ของเพื่อนมา หรือ แผ่นcd เถื่อนที่เราซื้อมาจากพันธุ์ทิพย์
2. จากอินเตอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมที่เราดาว์นโหลดมา หรือ ไวรัสที่ส่งมากับอีเมล์ วิธีป้องกันที่ดีที่สุด คือเราต้องไม่นำมาใช้ หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ให้เราหาโปรแกรมสำหรับสแกนไวรัสมาสแกนไวรัสก่อนที่จะนำมาใช้ ยกตัวอย่างเช่น McAfee’s VirusScan Norton AntinVirus หรือ Pc-cillin
แต่ในบางครั้งไวรัสตัวนั้นอาจเป็นไวรัสชนิดใหม่ที่โปรแกรมเหล่านั้นยังไม่สามารถตรวจสอบได้ เราก็จำเป็นต้องไปดาวน์โหลดโปรแกรมสแกนไวรัสเวอร์ชั่นใหม่ ๆ มาใช้งานจากเวบไซด์เหล่านั้น
4. รักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สะอาดอยู่เสมอ
ฝุ่นสามารถทำให้ชิปภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราร้อนขึ้นมามากกว่าธรรมดาและยังเป็นตัวขัดขวางการไหลเวียนระบายความร้อนของอากาศอีกด้วย อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งให้เราถอดปลั๊กต่างๆ และเปิดฝาเครื่องขึ้นมา และเป่าฝุ่นออก อย่าเช็ดด้วยเศษผ้า ให้ใช้ปากเป่าหรือกระป๋องอัดลมสำหรับฉีดลมอย่างใดอย่างหนึ่งในการเป่าฝุ่น
5. ปิดเครื่องด้วยวิธีการที่ถูกต้อง
เมื่อใดก็ตามที่เสร็จการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วจะเลิกการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่าได้ปิดเครื่องเลยทันที เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์มีการเก็บหน่วนความจำแคช ปิดไฟล์ และ เซฟข้อมูลคอนฟิกคูเรชั่นต่างๆ ก่อนที่เราจะปิดเครื่อง
เราจำเป็นต้องต้องสั่งให้คอมพิวเตอร์ของเราชัตดาวน์ (shutdown) ก่อนเสมอ โดยไปที่ Start –> Shutdown แล้วกด OK เท่านี้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราก็จะจบการทำงานได้อย่างสวยงาม
1. ไม่ควรทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ในขณะที่เครื่องยังเปิดอยู่ ถ้าคุณจะทำความ สะอาดเครื่อง ควรปิดเครื่องทิ้งไว้ 5 นาที ก่อนลงมือทำความสะอาด
2. อย่าใช้ผ้าเปียก ผ้าชุ่มน้ำ เช็ดคอมพิวเตอร์อย่างเด็ดขาด ใช้ผ้าแห้งดีกว่า
3. อย่าใช้สบู่ น้ำยาทำความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์ เพราะจะทำให้ระบบของเครื่อง เกิดความเสียหาย
4. ไม่ควรฉีดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
5. ไม่ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นกับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
6. ถ้าคุณจำเป็นต้องทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทำความสะอาด ที่คู่มือแนะนำไว้เท่านั้น
7. ไม่ควรดื่มน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์
8. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรืออาหารใด ๆ ขณะทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
• พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบ ต้องอยู่ในสภาพดี 100 เปอร์เซนต์ อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดควรจะอยู่ระหว่าง 60-70 องศาฟาเรนไฮต์
• ใช้เพาเวอร์ซัพพลาย ในขนาดที่ถูกต้อง
• ใช้งานเครื่องในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยู่ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงเป็นเวลานานๆ
• ควรทำความสะอาดภายในเครื่องทุก 6 เดือน หรือทุกครั้งที่ถอดฝาครอบ
• ตัวถัง หรือ ชิ้นส่วนภายนอกอาจใช้สเปรย์ทำความสะอาด
• วงจรภายในให้ใช้ลมเป่าและใช้แปรงขนอ่อนๆ ปัดฝุ่นออก
• อย่าสูบบุหรี่ใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์
• แม่เหล็กติดกระดาาบันทึกบนตู้เก็บแฟ้ม
• คลิปแขวนกระดาษแบบแม่เหล็ก
• ไขควงหัวแม่เหล็ก
• ลำโพง
• มอเตอร์ในพรินเตอร์
• UPS
• ควรโยกย้ายอุปกรณ์ที่มีกำลังแม่เหล็กมากๆ ให้ห่างจากระบบคอมพิวเตอร์
• แรงดันเกิน
• แรงดันตก
• ทรานเชียนต์
• ไฟกระเพื่อม
น
นาย คมสัน วิริยะสมภพ
ขั้น ม.5/2 เลขที่27นาย คมสัน วิริยะสมภพ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 27 
การดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้อายุการใช้งานคอมพิวเตอร์ยาวนานขึ้น และลดปัญหาจุกจิกต่างๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ของคุณ เราขอแนะนำการทำความสะอาดเครื่องคอมฯ ทั้งภายในและภายนอกดังนี้ การทำความภายนอกเครื่องคอมฯ ใช้น้ำยาทำความสะอาดสำหรับเครื่องคอมฯ เช็ด บริเวณด้านนอก โดยอาจใช้พู่กันเล็กๆ ช่วยในการปัดฝุ่นออกเสียก่อน จากนั้นจึงใช้น้ำยาทำความสะอาดเช็คเครื่องคอมฯ ข้อควรระวัง! โดยปกติน้ำยาเหล่านี้ ห้ามเช็คหน้าจอ ถ้ามีฝุ่นหรือคราบนิ้วมือ ให้ใช้ผ้าสะอาดเช็ดก็เพียงพอแล้ว (ทิป น้ำยาทำความสะอาด โดยทั่วไป การใช้ควรใส่น้ำยาบนผ้าที่สะอาด จากนั้นลูบไปบริเวณตัวเครื่อง ทิ้งไว้สักพัก และค่อยเช็ดออก จะช่วยลดแรงในการขัดได้มาก) การทำความภายในเครื่องคอมฯ สำรองข้อมูล เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาของคอมพิวเตอร์ ที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกขณะ การสำรองข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยลดปัญหาของคุณได้มากทีเดียว การสำรองข้อมูลอาจสำรองลงแผ่น ดิสก์, ซีดี หรืออาจแบ่ง partition ในฮาร์ดดิกส์ แล้วทำรองไว้ ทั้งนี้คงขึ้นกับกำลังเงินที่เรามีอยู่ ทำความสะอาดแผงวงจร ปัญหาอย่างหนึ่งที่สำคัญที่ทำให้คอมพิวเตอร์เกิดเสียหายได้ นั่นคือ ความชื้นและฝุ่นละอองที่เกาะตามอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนั้น เราจึงควรทำความสะอาดบ้างอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่ที่ติดตั้งคอมฯ ว่าอยู่ในพื้นที่ที่มีฝุ่นละอองมากน้อยเพียงใด การทำความสะอาด จำเป็นต้องต้องเปิดฝาเครื่อง จากนั้นให้ใช้เครื่องเป่าผม หรือเครื่องดูดฝุ่น (ขนาดเล็ก) ใช้เป่า หรือดูดฝุ่นออกมา ระวังเวลาดูดหรือเปล่า อย่าเข้าใกล้แผงวงจรมากนัก ตรวจสอบฮาร์ดดิสก์ ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์ที่ในการจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ถูกใช้งานมากที่สุด ดังนี้เราจึงควรมีการตรวจสอบ ฮาร์ดดิสก์เป็นประจำอยู่เสมอ โดยใช้โปรแกรมตรวจสอบ เช่น ลบขยะภายในเครื่อง Disk Cleanup, ตรวจสอบดิสก์ Scandisk และ จัดเรียงข้อมูลในดิสก์ Disk Defregment (อย่างน้อยเดือนละครั้ง) ตรวจสอบไวรัส วิธีการหนึ่งที่จะช่วยลดปัญหา และช่วยในการทำงานของคุณให้ราบรื่นด้วย เนื่องจากปัจจุบัน ไวรัสมีการแพร่กระจายทุกวัน และโดยเฉพาะการใช้งาน internet & Email ก็เป็นที่แพร่หลายมากด้วย ดังนั้นโอกาสในการติดไวรัสย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ การป้องกันย่อมดีกว่าแก้ปัญหาแน่นอน ดังนั้นการติดตั้งโปรแกรมเพื่อป้องกันและตรวจสอบไวรัส ย่อมเป็นสิ่งจำเป็นอย่างหนึ่งที่ต้องกระทำ และนอกจากนี้ คุณจำเป็นจะต้องมีการ update ไฟล์ที่สามารถป้องกันไวรัสตัวไวรัสอย่างสม่ำเสมออีกด้วย (อย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง) รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับไวรัส คลิกที่นี่ และสำหรับโปรแกรมป้องกันไวรัส คลิกที่นี่ าย คมสัน วิริยะสมภพ ขั้น ม.5/2 เลขที่27
การบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อให้สามารถใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้นานขึ้น จึงควรรู้จักวิธีการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์บ้าง โดยในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นอันตรายต่อเครื่องคอมพิวเตอร์การดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และปัญหาทั่วไปในการใช้งานคอมพิวเตอร์โดยมีรายละเอียดังต่อไปนี้
สิ่งที่เป็นอันตรายต่อเครื่องคอมพิวเตอร์
สิ่งที่เป็นอันตรายต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญก็คือลักษณะการใช้งานและสภาพแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นสภาพอากาศ ความร้อน แสงแดด ฝุ่นละออง น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์หลายคนมองข้ามไปแต่ที่จริงแล้วสิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดอันตรายต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างมาก ดังนี้
- การเปิด – ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์บ่อย ๆ
เมื่อมีการเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปในตัวเครื่องทันที ทำให้เกิดการกระชากของ
กระแสไฟฟ้าขึ้น ซึ่งหากการกระชากไฟนี้เกินกว่าที่ชิ้นส่วนบนแผงวงจรจะรับได้ จะทำให้แผงวงจรนั้นไม่สามารถทำงานได้ ดังนั้นถ้า
ไม่สามารถเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ก็ควรเปิด-ปิดเครื่องให้น้อยที่สุด
- ความร้อน
ความร้อน ที่เกิดขึ้นภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดมาจากการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แต่ละชิ้น ซึ่งความร้อนนี้หากสูงเกินขอบเขตที่ฮาร์ดแวร์ทนได้ก็จะทำให้เกิดการเสื่อมของฮาร์ดแวร์ชิ้นนั้น ดังนั้นจึงต้องมีวิธีที่ใช้ในการระบาย
ความร้อนออกจากเครื่องคอมิวเตอร์ เช่นการระบายความร้อนด้วยการติดตั้งพัดลมที่มีขนาดใหญ่หรือการติดตั้งพัดลมเพิ่มเข้าไปการ
ใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์ในช่วงเวลาที่มีอุณหภูมิเหมาะสม การใช้เคสที่มีระบบระบายความร้อนที่ดี ซึ่งเคสที่มีระบบระบายความร้อน
ที่ดีในปัจจุบันนี้ก็คือเคสแบบ ATX ซึ่งต้องทำงานร่วมกับเมนบอร์ดแบบ ATX ด้วย โดยที่เคสและเมนบอร์ดชนิดนี้จะได้รับการออก
แบบมาโดยคำนึงถึงหลักการระบายความร้อนที่ดี เป็นต้น การจัดวางเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถถ่ายเทอากาศได้อย่างสะดวกก็เป็น
อีกทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องความร้อนได้ โดยในการจัดวางเครื่องคอมพิวเตอร์ควรจะจัดให้ตำแหน่งด้านหลังของเครื่องอยู่ห่างจาก
ผนังหรือกำแพงพอสมควรเพื่อให้สามารถถ่ายเทอาศได้อย่างสะดวกแสงแดด ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดความร้อนขึ้นได้ ซึ่งโดยปกติแล้วอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชิ้นไม่ควรถูกจัดวางให้สัมผัสกับแสงแดด เครื่องคอมพิวเตอร์ก็เช่นกันไม่ควรจัดวางให้สัมผัส
กับแสงแดดโดยตรง
- ฝุ่นละออง
ฝุ่นละออง เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ เสียหายได้เร็วขึ้น เนื่องจากฝุ่นละอองจะเข้าไปขัดขวางทางเดินของ
กระแสไฟฟ้าบนแผงวงจร ทำให้ฮาร์ดแวร์ชิ้นนั้นทำงานได้ไม่เต็มที่หรือทำงานติดขัด นอกจากนี้ ฝุ่นละอองยังเป็นตัวปิดกั้นไม่ให้ความ
ร้อนระบายออกไปได้ ฮาร์ดแวร์ชิ้นหนึ่งที่ต้องหลีกเลี่ยงจากฝุ่นเป้นอย่างยิ่งก็คือ เครื่องพิมพ์ (Printer) เนื่องจากหากฝุ่นได้เข้าไปเกาะ
อยู่บนหัวพิมพ์ของเครื่องพิมพ์แล้ว จะเข้าไปขวางกั้นการทำงานของเครื่องพิมพ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ท จะทำให้
การพิมพ์ภาพหรือตัวอักษรบนกระดาษเลอะเลือนได้
- น้ำ
น้ำ หรือของเหลว เป็นสาเหตุสำคัญที่สุดที่ทำให้ฮาร์ดแวร์ชิ้นต่าง ๆ เสียหายได้ เนื่องจากฮาร์ดแวร์ทุกชิ้นต้องใช้ไฟฟ้าในการทำงาน
และน้ำก็เป็นตัวการที่ทำให้กระแสไฟฟ้าลัดวงจร ดังนั้นจึงไม่ควรนำน้ำหรือของเหลวใด ๆ เข้าใกล้ฮาร์ดแวร์ทุกชิ้นแต่หากต้องใช้น้ำใน
การทำความสะอาดก็ควรถอดปลั๊กไฟออกก่อน และใช้ผ้าชุบน้ำหมาด ๆ เช็ดทำความสะอาด แล้วใช้ผ้าแห้งเช็ดซ้ำ
- กระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า ที่หล่อเลี้ยงให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ก็สามารถสร้างความเสียหายให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดย
มีสาเหตุมาจากไฟตก ไฟเกิน ไฟดับ และไฟกระชาก ซึ่งหากเกิดเหตุการณ์ไฟดับหรือไฟกระชาก จะทำให้ฮาร์ดแวร์หยุดทำงานชั่วคราว
จนกว่าจะมีกระแสไฟฟ้ากลับมาหล่อเลี้ยงอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในช่วงเวลาที่ฮาร์ดแวร์หยุดทำงานอย่างฉับพลันนี้อาจจะเป็นสาเหตุทำให้
ฮาร์ดแวร์เสียหายได้
- สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่เกิดจากฮาร์ดแวร์ชิ้นหนึ่งอาจจะไปรบกวนการทำงานของฮาร์ดแวร์อีกชิ้นหนึ่ง จนทำให้ฮาร์ดแวร์ท
ี่ถูกรบกวนเสียหายได้ เช่น ลำโพงจากชุดมัลติมีเดีย ที่ไม่มีการป้องกันสนามแม่เหล็กไม่ให้แผ่กระจายออกไป สามารถทำอันตราย จอภาพได้เนื่องจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ออกมาจากลำโพง จะไปรบกวนการสัญญาณของหลอดภาพที่อยู่ภายในตัวจอภาพ ทำให
้การแสดงภาพและสีผิดเพี้ยนไป และเมื่อใช้งานไปนานทำให้จอภาพที่ถูกรบกวนด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถแสดงผลได้ครบ
ทุกสี หรือจอภาพอาจจะเสียไปก็ได้เป็นต้น
- การดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์ชิ้นอื่น ๆ
ก่อนการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกครั้งต้องปิดสวิตซ์เครื่องและดึงปลั๊กไฟออกจากเต้าเสียบเพื่อป้องกันอันตรายที่เกิด
จากกระแสไฟฟ้า และสิ่งต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติเพื่อไม่ให้ เครื่องคอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์ชิ้นต่าง ๆ เสียหาควรปิดเครื่องให้สนิท
อยู่เสมอเพื่อป้องกันไม่ให้หนูหรือแมลงสาบเข้าไปทำความเสียหายภายในเครื่องในกรณีที่ดึง แผ่นเหล็กปิดสล็อตด้านหลังเครื่องออก
เพื่อใส่การ์ดต่าง ๆ เข้าไปก็ควรเก็บแผ่นเหล็กนั้นเองด้วยเพื่อเวลาที่ไม่ได้ใช้
การ์ดนั้นแล้วจะได้นำแผ่นเหล็กมาปิดกลับคืน
- ด้านหลังเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนให่ญ่จะมีพัดลมระบายอากาศอยู่หนึ่งตัว ซึ่งจะหมุนตลอดเวลาที่เปิดเครื่องพัดลมตัวนี้จะทำหน้าที่ดูดอากาศออกจากตัวเครื่องเพื่อระบายความร้อนให้กับระบบจ่ายไฟ จึงควรตรวจบริเวณหลังเครื่องเป็นครั้งคราวเพื่อดูว่ามีลมเป่าออกมาหรือไม่หากไม่มีก็ควรรีบเปลี่ยนโดยด่วน มิฉะนั้นทำให้อุณหภูมิในเครื่องคอมพิวเตอต์สูงเกินไปและจำมีผลเสียต่อตัวเครื่อง
- ควรเปิดฝาครอบเครื่องออกมาเป่าฝุ่นที่เกาะอยู่ตามแผงขงจรสัก 2 เดือนครั้ง แต่หากเครื่องคอมพิวเตอร์บริเวณที่มีฝุ่นมาก ๆ
อาจจะต้องเป่าเดือนละครั้ง ถ้าไม่มีเครื่องเป่าลมก็ให้ใช้แปรงทาสี ที่มีขนนุ่ม ๆ มาทำความสะอาดฝุ่นละอองที่เกาะบนแผงวงจร
ภายในเครื่องซึ่งจะช่วยให้กระระบายความร้อนดีขึ้น
- ควรต่อสายดินจากเคสส่วนที่เป็นโลหะแล้วนำไปต่อกับโลหะชิ้นอื่นที่ตั้งอยู่บนพื้น เช่น ท่อน้ำเหล็กประตูโครงฝ้า ที่เป้นอลูมิเนียมเพื่อให้สามารถระบายกระแสไฟฟ้าลงดินได้การต่อสายดินนี้จะช่วยแก้ปัญหาจากตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ทำให้ไม่
ถูกไฟดูดเวลาเผลอไปแตะตัวเครื่อง รวมทั้งยังช่วยลดความรุนแรงปัญหาไฟกระชากได้อีกด้วย
- ในพื้นที่ที่มีปัญหาไฟดับ ไฟตก ไฟเกิน ไฟกระชากอยู่บ่อย ๆ ควรซื้อยูพีเอส (UPS) มาใช้งานซึ่งนอกจากช่วยรักษาระดับแรงดันไฟฟ้าให้คงที่และกรองสัญญาณไฟฟ้าได้แล้วยังจ่ายไฟฟ้าสำรองได้อีกด้วยสามารถ
ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่อไปได้อีก 10-15 นาทีทำให้บันทึกข้อมูลได้ทัน
- ในกรณีที่ต้องใช้ฮาร์ดแวร์หลายชิ้นกับปลั๊ก 3 ตาเพียงอันเดียวเพื่อต่อทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์สแกนเนอร์โมเด็มและ
ฮาร์ดแวร์ชิ้นอื่น ๆ ควรใช้ปลั๊กรางสำหรับใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขายอยู่โดยทั่วไปแทน ซึ่งปลั๊กรางนี้จะช่องเสียบหลายช่อง
และมีเต้าสำหรับใช้กับปลั๊กแบบ 3 ขาได้ และไม่ควรใช้ตลับสายไฟที่เป็นม้วนกลม เนื่องจากมักจะทำจากอุปกรณ์ราคาถูกเมื่อเสียบ
ปลั๊กแล้วไม่แน่น ทำให้ปลั๊กหลวมจนเครื่องดับในระหว่างการใช้งานและอาจเกิดการสปาร์กที่ปลั๊ก ทำให้เกิดสัญญาณรบกวนระบบ
ไฟฟ้าและถ้าสปาร์กบ่อย ๆ จะทำให้เกิดความร้อนสะสมจนอาจเกิดไฟไหม้ได้
- อย่าปิดแล้วเปิดเครื่องใหม่ทันที นอกจากจะทำให้จอภาพเสียเร็วแล้ว จะทำให้ภาคจ่ายไฟแบบสวิทซึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์มี
อายุการใช้งานสั้นลงด้วย แต่หากต้องการปิดแล้วเปิดเครื่องใหม่ให้ปิดเครื่องแล้วรออย่างน้อย 10 วินาทีเพื่อให้กระแสไฟฟ้า ไหลออกจากตัวเครื่องให้หมดก่อนแล้วจึงเปิดเครื่องใหม่จึงจะไม่สร้างความเสียหายให้กับฮาร์ดแวร์แต่ในกรณีที่เครื่องแฮงก์ให้ลอง
บูทเครื่องใหม่โดยการวอร์มลูทคือกดปุ่ม Ctrl + Alt + Del เสียก่อนแต่ถ้าไม่ได้ผลให้ กดปุ่ม รีเซตที่ด้านหน้าเครื่องแทนซึ่งจะได้ผล เท่ากับการปิดเครื่องและเปิดเครื่องใหม่โดยไม่ทำให้ภาคจ่ายไฟมีอายุการใช้งานสั้นลง
- ควรนำคีย์บอร์ด คว่ำแล้วเคาะฝุ่นละอองที่ติดตามซอกออกเดือนละครั้งหรือใช้น้ำยาเช็ดทำความสะอาดเพื่อให้สามารถกดปุ่น
ได้อย่างไม่มีปัญหา
- การดูแลรักษาเมาส์
ควรถอดลูกกลิ้งในเมาส์มาล้างในน้ำอุ่นและขูดสิ่งสกปรกที่ติดอยู่ที่แกนหมุนภายในเมาส์เนื่องจากหากแกนนี้สกปรกจะทำให
้เมาส์เคลื่อนที่ได้ไม่สม่ำเสมอควรทำความสะอาดประมาณ 1-2 เดือนต่อครั้งหรือบ่อยกว่านั้นถ้ารูสึกว่าเมาส์เคลื่อนที่ไม่ราบเรียบ นอกจากนี้ควรใช้แผ่นรองเมาส์และทำความสะอาดแผ่นรองเมาส์ให้สะอาดอยู่เสมอ