สัตว์ป่าสงวนของไทย

สัตว์ป่าสงวนของไทย


สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายาก กำหนดตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503จำนวน 9 ชนิด เป็นสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมด ได้แก่ แรด กระซู่ กูปรี ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมันเนื้อทราย เลียงผาและกวางผา สัตว์ป่าสงวนเหล่านี้หายาก หรือใกล้จะสูญพันธุ์หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว จึงจำเป็นต้องมี บทบัญญัติเข้มงวดกวดขันเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่สัตว์ป่าที่ยังมีชีวิตอยู่หรือซากสัตว์ป่า ซึ่งอาจจะตกไปอยู่ยังต่างประเทศด้วยการซื้อขายต่อมาเมื่อสถานการณ์ของสัตว์ป่า ในประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไป สัตว์ป่าหลายชนิดเสี่ยงต่อมีแนวโน้มถูกคุกคามการสูญพันธุ์มากยิ่งขึ้น ประกอบกับเพื่อให้เกิดควา![]() และพืชป่าหรือCITES ซึ่งประเทศไทย ได้ร่วมลงนามรับรองอนุสัญญา ในปี พ.ศ. 2518 และได้ให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2526 นับเป็นสมาชิกลำดับที่ 80 จึงได้มีการพิจารณา แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติ ฉบับเดิมและตราพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ขึ้น ใหม่เมื่อวันพ.ศ.2535 ขึ้น ใหม่เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2535 สัตว์ป่าสงวนตามในพระราชบัญญัติฉบับใหม่ หมายถึงสัตว์ป่าที่หายากตามบัญชีท้าย พระราชบัญญัติฉบับนี้และตามที่ กำหนดโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาทำให้สามารถ เปลี่ยนแปลงชนิดสัตว์ป่าสงวนได้โดยสะดวกโดยออกเป็นพระราชกฤษฎีกาแก้ไขหรือเพิ่มเติมเท่านั้นไม่ต้องถึงกับต้องแก้ไขพระราชบัญญัติอย่างของเดิมทั้งนี้ได้มีการเพิ่มเติมชนิด สัตว์ป่าที่มีสภาพล่อแหลมต่อการสูญพันธุ์อย่างยิ่ง 7 ชนิด และตัดสัตว์ป่าที่ไม่อยู่ในสถานะใกล้จะสูญพันธ์ เนื่องจากการที่สามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ได้มาก 1 ชนิด คือ เนื้อทราย รวมกับสัตว์ป่า สงวนเดิม 8 ชนิด รวมเป็น 15 ชนิด ได้แก่ |
แหล่งอ้างอิง:
http://www.wcd13phrae.com/wildlife01.html,http://learning.eduzones.com/froze/3535,http://www.verdantplanet.org/preserve/preserv.php